อัตราจังหวะ และหน้าทับเพลงไทย รับลิงก์ Facebook X Pinterest อีเมล แอปอื่นๆ มกราคม 13, 2561 อัตราจังหวะ และหน้าทับเพลงไทย อัตราจังหวะเพลงไทยเดิม หน้าทับเพลงไทยเดิม ที่มา : http://119.46.166.126/self_all/selfaccess9/m3/707/lesson1/lesson1.php รับลิงก์ Facebook X Pinterest อีเมล แอปอื่นๆ ความคิดเห็น Unknown13 มกราคม 2561 เวลา 22:29GoodตอบลบคำตอบตอบUnknown13 มกราคม 2561 เวลา 22:35ขอบคุณสำหรับข้อมูลค่ะตอบลบคำตอบตอบUnknown13 มกราคม 2561 เวลา 22:36เป็นประโยชน์มากเลยครับตอบลบคำตอบตอบUnknown13 มกราคม 2561 เวลา 22:55อยากได้หน้าทับตะโพนไทยครับตอบลบคำตอบตอบทศพร เสาประโคน13 มกราคม 2561 เวลา 22:59ข้อมูลนี้เป็นประโยชน์กับครูดนตรีมากครับตอบลบคำตอบตอบUnknown14 มกราคม 2561 เวลา 20:44WellตอบลบคำตอบตอบUnknown14 มกราคม 2561 เวลา 21:31ดีมากค่ะตอบลบคำตอบตอบUnknown14 มกราคม 2561 เวลา 21:31ดีมากค่ะตอบลบคำตอบตอบUnknown15 มกราคม 2561 เวลา 01:45ขอบคุนสำหรับข้อมูลคะตอบลบคำตอบตอบUnknown19 มกราคม 2561 เวลา 18:55ดีมากๆๆๆ เลยครับตอบลบคำตอบตอบUnknown19 มกราคม 2561 เวลา 18:57😀ตอบลบคำตอบตอบเพิ่มความคิดเห็นโหลดเพิ่มเติม... แสดงความคิดเห็น
ประเภทของเพลงไทยเดิม มกราคม 13, 2561 เพลงไทยเดิม ประเภทของเพลงไทยเดิม เพลงไทยคือเพลงที่แต่งขึ้นมาตามแนวดนตรีไทย มีลีลาในการขับร้องและบรรเลงในแบบของดนตรีไทย เฉพาะเพลงและแตกต่างจากเสียงเพลงของประเทศอื่นๆ เพลงไทยเดิมจะเน้นประโยคส้นแต่จังหวะเร็วเป็นหลัก ในส่วนใหญ่ได้มีต้นกำเนิดมาจากเพลงบ้านๆ หรือเพลงประกอบงานต่างๆเพื่อให้ความบันเทิงสนุกสนาน ในเวลาต่อมาจึงอยากได้เพลงสนุกสนานเป็นเพลงขับร้องจึงประกอบอยู่ในการแสดงละคร จึงจำเป็นต้องคิดทำนองขึ้นมาและมีการปรับปรุงจังหวะเพลงให้ช้าลงจากที่เร็วเกินไปก็อยู่ในจังหวะพอดีหรือปานกลาง เพื่อเหมาะสมกับนักร้อง ประเภทของเพลงไทยแบ่งออกเป็นหลายจำพวกคือ เพลงสำหรับบรรเลงดนตรีล้วนๆ ซึ่งไม่มีการขับร้องเลยเราซึ่งแนวนี้จะใช้ในพิธีสำคัญต่างๆ เพลงโหมดรงเพลงหน้าพาทย์ สำหรับการแสดงฟ้อนรำต่างๆ เพลงสำหรับขับร้อง คือเพลงซึ่งมีนักร้องและดนตรีประกอบเรียกว่าร้องส่งดนตรี เช่นเพลงประกอบขับเสภา เพลงร้องส่งเพื่อฟังไพเราะทั่วไปส่วนมากจะเน้นเพลงเถากับเพลงตับ เพลงประกอบการรำคือ เพลงร้องตามบทบาทของตัวละคร ให้ผู้รำได้ทำการแสดงอารมท่าทางต่างๆออกมาตามเนื้อเพลง โดยลักษณะเพลงไทยประเภทต่างๆสามารถแบ่งออกได้หลายจำพวกม... อ่านเพิ่มเติม
วงดนตรีไทย มกราคม 13, 2561 ประเภทของวงดนตรีไทย ลักษณะของวงดนตรีไทย แบ่งออกเป็น 3 ประเภท วงปี่พาทย์ วงปี่พาทย์ หมายถึง วงที่เกิดจากการประสมวงกันระหว่างเครื่องดนตรีประเภทเครื่องเป่าและเครื่องดนตรีประเภทเครื่องตี มีหลายรูปแบบดังนี้ 1. วงปี่พาทย์ชาตรี ในสมัยกรุงศรีอยุธยาเรียก " ปี่พาทย์เครื่องห้าชนิดเบา " เพราะมีน้ำหนักเบา ใช้บรรเลงประกอบการแสดงละครชาตรีต่อมาจึงเรียกชื่อตามละคร ใช้เครื่องดนตรี ดังนี้ ปี่นอก ฆ้องคู่ กลองชาตรี โทนชาตรี ฉิ่ง 2. วงปี่พาทย์ไม้แข็ง เป็วงที่ประกอบด้วยเครื่องดนตรีประเภทเครื่องเป่าและเครื่องตีนิยมบรรเลงทั่วไป เช่นบรรเลงดนตรีล้วนๆ หรือประกอบการขับร้อง มี 3 ขนาด ดังนี้ 2.1 วงปี่พาทย์ไม้แข็งเครื่องห... อ่านเพิ่มเติม
Good
ตอบลบขอบคุณสำหรับข้อมูลค่ะ
ตอบลบเป็นประโยชน์มากเลยครับ
ตอบลบอยากได้หน้าทับตะโพนไทยครับ
ตอบลบข้อมูลนี้เป็นประโยชน์กับครูดนตรีมากครับ
ตอบลบWell
ตอบลบดีมากค่ะ
ตอบลบดีมากค่ะ
ตอบลบขอบคุนสำหรับข้อมูลคะ
ตอบลบดีมากๆๆๆ เลยครับ
ตอบลบ😀
ตอบลบ